แทงบอลออนไลน์ ufabet หากเราจะหาแฟนบอลคนหนึ่งที่รักและศรัทธาทีมฟุตบอลแบบสุดลิ่มทิ่มเปรียบประหนึ่งลมหายใจสักคนก็ว่ายากแล้ว และถ้าเป็นแฟนบอลที่ตามดูทีมๆ นั้นมาตั้งแต่แรกเริ่มเดิมทีนั้นจะหายากขนาดไหน แต่ในวันนี้ “ทีมข่าวกีฬาไทยรัฐออนไลน์” ได้รู้จักและค้นพบกับกองเชียร์ที่จัดอยู่ในประเภทนั้นแล้ว นามว่า “ออหมี บียูเอฟซี” เรามาทำความรู้จักไปพร้อมๆ กันดีกว่าว่าเรื่องราวที่น่าสนใจฉบับลูกหนังของเขานั้นเริ่มต้นเป็นมาอย่างไร ในระหว่างทางเจอกับเรื่องราวที่น่าประทับใจอะไรบ้าง ติดตามไปพร้อมๆ กันได้เลย…
แทงบอลออนไลน์ ufabet จุดเริ่มต้นที่ทำให้มาเชียร์
เดิมทีนั้นเราเป็นอาจารย์ในมหาวิทยาลัยแห่งนี้ (ม.กรุงเทพ) ซึ่งก็มีทีมฟุตบอลเป็นของตัวเอง ก่อนหน้านี้ทำงานอยู่ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตกล้วยน้ำไท แต่สนามแข่งอยู่รังสิต ก็ทำให้ยังไม่ได้ติดตามมากนัก แต่พอย้ายมาสอนที่รังสิต เราก็เริ่มดูบอลมากขึ้น ช่วงนั้น (10 กว่าปีก่อน) ทีมมหาวิทยาลัยกรุงเทพ ทำผลงานได้อย่างยอดเยี่ยม ได้ 3 แชมป์รายการสำคัญอย่าง แชมป์ยูลีก, แชมป์ฟุตบอลมหา’ลัย และแชมป์ไทยลีก 2006 โดยนักเตะช่วงนั้นเกือบทั้งหมดเป็นนักศึกษาแทบทั้งสิ้น
นักเตะที่ชอบที่สุด
จะเป็น ทรงศักดิ์ เฮมเขียว ที่เป็นนักเตะรุ่นแรกๆ ของทีม ที่สำคัญเราสอนเขาด้วย แล้วรุ่นราวคราวเดียวกันนั้นก็มี ปัณณ์พันธุ์พงษ์ ปิ่นกอง ตอนเรียนพวกเขาชอบลาเรียนเพื่อไปซ้อมบอลบ่อยๆ ด้วยความสงสัยเราก็เลยไปดูหน่อยว่าซ้อมที่ไหน อะไร ยังไง ซึ่งนักเตะสองคนนี้แหละคือจุดเริ่มต้นที่ทำให้เราเริ่มติดตามเชียร์ทีมอย่างจริงจัง

การเปลี่ยนหรือทิศทางที่เห็น
ช่วงแรกๆ นั้นนักเตะที่มีอยู่จะเป็นนักศึกษาเกือบทั้งหมด รวมถึงโค้ชที่เป็นคนไทย แต่ในยุคนี้ก็เปลี่ยนไปใช้โค้ชและทีมงานจากต่างชาติมากขึ้น นั่นคือการเปลี่ยนแปลงในส่วนของโครงสร้างทีม ถ้าพูดถึงระบบการเล่น เราจะเห็นได้ว่าทีมเล่นบอลเร็วขึ้น เน้นบุกมากขึ้น เอนเตอร์เทนมากขึ้น แต่ยังไม่เท่าปีที่แล้ว ยกตัวอย่างเกมเปิดบ้านพบกับ เอสซีจี เมืองทองฯ เกมค่อนข้างสนุก ทุกคนสนุกไปกับเกม ที่แพ้ 4-2 ภาพรวมคือสนุกและเอ็นจอยไปกับเกม แทงบอลออนไลน์ ufabet ไม่ใช่ว่าโดนนำ 4-2 แล้วแฟนบอลเดินกลับ ในเกมนั้นแฟนบอลทุกคนยังเชียร์อยู่ และยิ่งได้ประตูไล่มาเป็น 2-4 ทุกคนเชียร์และปลุกเร้าเพิ่มขึ้นอีก ซึ่งสิ่งนี้แหละมันจะส่งไปถึงนักฟุตบอลให้ฮึกเฮิมมากกว่าเดิม
การวางแผนไปเชียร์แต่ละนัด
เราวางแผนเป็นปีๆ เลย ปีนี้มีฟุตบอลรายการไหน เตะเมื่อไร จะลงไว้หมด ซึ่งจริงๆ ก็ไม่ใช่มีแต่ แบงค็อกฯ เท่านั้น จะมีแบงค็อกยูเดฟโฟ่ เล่นอยู่ ที 3 เป็นทีม นศ. เมื่อวานเตะกับสุราษฎร์ฯ และก็มี T4 แบงค็อก ยู เดฟโฟ่ เอฟซี ซึ่งเราก็จะต้องวางแผนว่าจะไปดูอะไร ส่วนใหญ่ถ้าเล่นในบ้านก็จะไป ถ้าไม่ติดงานจริงๆ ถ้าเกมเยือนก็มีไปบ้าง ซึ่งอุปกรณ์ในการเชียร์หลักๆ ก็จะมีเสื้อ ผ้าพันคอ และหมวก
กลุ่มเชียร์ ใครกำหนดทิศทางเชียร์
หลักๆ แล้วตอนอยู่สนามไทย-ญี่ปุ่น มี 2 กลุ่ม คือ ฮาร์ดคอร์ของพี่อ้น และ กลุ่มกูดินแดง แต่เวลาเชียร์ก็เหมือนแยกส่วนกัน ฮาร์ดคอร์มาแรกๆ จะอยู่ฝั่งตรงข้ามประธาน ตรงกลางเส้นแบ่งสนาม กลุ่มกูดินแดงก็มาคุยแล้วแยกกลุ่มไป ตอนสนามไทย-ญี่ปุ่นดินแดงก็จะนั่งด้านขวา ก็จะแบ่งกัน พอแบ่ง 2 กลุ่ม ข้อดี จะได้พัก สลับกัน รับส่ง บางจังหวะคุยกัน ร้องด้วยกัน กลุ่มก็จะมีเพลงของตัวเอง

เอกลักษณ์กลุ่มกองเชียร์
เอกลักษณ์ของกลุ่มเราคือเชียร์ไม่มีหมด กลองขึ้นก็จะร้องเพลงตลอดเวลา ไม่ว่าจะขึ้นนำ หรือตามหลังคู่แข่ง ก็ร้องเพลงตลอดเวลา ซึ่งไอ้การที่เรามาเชียร์บ่อยๆ นี่แหละ ส่งผลให้ช่วงหลังเลิกดูบอลนอกไปเลย (หัวเราะ) เพราะที่นี่เราสัมผัสมันได้ เข้าถึงนักเตะ เซลฟี่กับนักเตะ และอะไรอื่นๆ อีกมากมาย
การปลุกเร้า
หน้าสนามเมื่อก่อนจะร้องเพลง ตอนนี้ลดลงเพราะกลุ่มหลากหลายขึ้น ผนวกกับทางสโมสรก็มีกิจกรรมหน้าสนาม ซึ่งทำให้พวกเราต้องไปปลุกเร้าร้องเพลงข้างในสนามแทน กองเชียร์มาก็จะรวมกลุ่มกันหน้าสนาม เล่นเกมหน้าสนาม พูดคุยถามไถ่สารทุกข์สุกดิบ พอใกล้เวลาแข่งก็เข้าสนาม
ความประทับใจเวลาไปเชียร์ที่สนาม
ระหว่างที่เชียร์ในใจรู้สึกสนุกและอินไปกับเกมการแข่งขัน และถ้าตอนจบเกม นักฟุตบอลเดินเข้ามาขอบคุณกองเชียร์ และเซลฟี่กับแฟนบอล แค่นี้เราก็ประทับใจมากแล้ว และถ้าพูดถึงเหตุการณ์ที่ไม่น่าประทับใจ จะมีอยู่ครั้งหนึ่งที่เป็นบอลถ้วย เมื่อพวกเราเดินทางไปถึงปรากฏว่าทีมเจ้าบ้านขึ้นค่าบัตรเข้าชมเกม 3 เท่าตัว ซึ่งมันดูขูดเลือดขูดเนื้อกันเกินไป เราจึงแก้เผ็ดด้วยการไปยืนเกาะรั้วดู

เดินทางไปเชียร์ทีมชาติบ่อยแค่ไหน
จริงๆ ก็มีไปดูมาบ้าง ส่วนใหญ่จะเน้นสนามศุภชลาศัย เพราะเดินทางสะดวกกว่าและได้มุมมองที่ดีกว่า ครั้งล่าสุดที่ไปดูจะเป็นรายการซูซูกิ คัพ ที่สนามราชมังคลากีฬาสถาน ดูแล้วมันใหญ่เกินไปและยิ่งอยู่ข้างบนด้วย ซึ่งจากตรงมุมนั้นเราจะเห็นนักเตะตัวเล็กมาก ซึ่งมันดูไม่อินเท่าไร
ภาพรวมบอลทีมชาติ
ตอนนี้พัฒนาดีขึ้นกว่าแต่ก่อน การที่ผู้เล่นทีมชาติมาจากทีมๆ เดียวเกือบทั้งหมด มันก็ส่งผลดีไปอีกแบบ เพราะพวกเขาซ้อมด้วยกันทุกวันจึงเกิดเป็นความเข้าขากัน การเล่นจังหวะต่างๆ มันดีกว่าในยุคก่อน ที่เอาจากแต่ละทีมมาเล่น ความสัมพันธ์ การรู้จังหวะ แต่ข้อเสียก็คือ เมื่อคู่แข่งมาดูฟอร์มการเล่นก็รู้ว่าทีมชาติแต่ละคนเล่นแบบไหน พอมาเล่นทีมชาติก็ไม่ได้เปลี่ยนโฉมไปมากเท่าไร ซึ่งมันก็มีข้อดีข้อเสียที่แตกต่างกัน
ความรู้สึกทีมชาติแต่งตั้งโค้ชคนใหม่
ยุคก่อนถือว่าทำทีมได้ดี จากเมื่อก่อนที่นักเตะเกเร ไม่ฟิตบ้าง แต่พอ “ซิโก้” เกียรติศักดิ์ เสนาเมือง เข้ามา ระเบียบวินัยก็ดีขึ้น ไม่เล่นนอกเกม แต่ด้วยเหตุหลายๆ อย่างส่งผลเขาก็ต้องอำลาตำแหน่งไป การเปลี่ยนโค้ช เหมือนการเปลี่ยนสไตล์ บอลทีมชาติน่าจะเปลี่ยนสไตล์ไป ครั้งนี้น่าจะไม่เหมือนเดิม ตอนนั้นบางคนพูดถึงชื่อของ “โค้ชแบน” ธชตวัน ศรีปาน ขึ้นมา แต่สไตล์น่าจะไม่ต่างกับซิโก้มากนัก สมาคมฯ เลือกต่างชาติมาเพื่อเปลี่ยนสไตล์ วิธีการเล่นแบบใหม่ๆ ที่แตกต่างจากเดิม แม้บางกระแสจะมองว่าโค้ชต่างชาติคงไม่ดี ไม่เวิร์คหรอกเอามาทำไม แต่คุณดูโค้ชต่างชาติอยู่ลีกไทยตอนนี้สิว่ามากขนาดไหน เอาเป็นว่าสมาคมฯ เลือกเขามาทำทีม บทสรุปสุดท้ายแล้วจะเป็นอย่างไรให้ขึ้นอยู่กับผลงานก็แล้วกัน

จุดหลักๆ ที่อยากเห็น
หลักๆ อยากที่จะเห็น มิโลวาน ราเยวัช พัฒนาฟุตบอลของทีมชาติไทยไปสู่อีกขั้น UFABET รวมถึงการต่อกรกับทีมระดับท็อปได้อย่างสนุก ไม่ซีเรียสหรอกว่าผลจบลงแล้วจะแพ้หรือจะชนะ แต่แค่ให้มันสู้ได้ใกล้เคียงขึ้น ได้ลุ้นมากขึ้นก็พอ
เชิญชวนแฟนๆ ให้มาเชียร์
ไม่จำเป็นต้องมารวมกลุ่มกัน กระจายๆ ที่นั่งว่างๆ เหล่านั้น สักวันจะมีคนมาเติมกันเอง ไม่เคยกลัวว่าในกองเชียร์ของแบงค็อกฯ จะมีอยู่ 3-4 โซน เพราะทั้งหมดนั้นเชียร์ทีมเดียวกัน ไม่ได้แย่งกันเชียร์ บางครั้งช่วยกันด้วยซ้ำไป ฝั่งนี้พัก อีกฝั่งขึ้นเพลงต่อ เราคือครอบครัวเดียวกัน เชียร์ไปด้วยกันแค่นั้นก็พอ